รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

1. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถสรุปองค์ความรู้หลังการเรียนในแต่ละชั่วโมง

2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอน

3. เพื่อศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนของครูที่เหมาะสมต่อการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์

โดยมีรายงานการวิจัยด้งนี้

Related Posts

วิทยากรอบรม AI หัวข้อ “AI สู่การพัฒนานวัตกรรมสื่อที่มีคุณภาพ”

วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการ “AI สู่การพัฒนานวัตกรรมสื่อที่มีคุณภาพ” วันที่ 17-18 มีนาคม พ.ศ. 2568 โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี

วิทยากร: การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรมสมัยใหม่ (AI, Online Tools)”

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 ได้รับเกียรติให้เป็นวิทยากรบรรยายและอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรมสมัยใหม่ (AI, Online Tools)” ณ โรงเรียนหนองจอกพิทยานุสสรณ์มัธยม เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ซึ่งก็รู้สึกตื่นเต้นและยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับเกียรติครั้งนี้ครับ ระหว่างการอบรมและหลังการอบรมได้เห็นผลงานคุณครูและความเข้าใจในการใช้ AI เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของตนเองแล้ว ก็ต้องบอกว่ารู้สึกดีใจมาก ๆ ที่คุณครูสนุกและทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้สำเร็จเป็นอย่างดี มีผลงานและเป็นตัวอย่างนำไปปรับใช้ในชั้นเรียนของตนเองได้ครับ

รางวัล “สุดยอดครูระดับมัธยมศึกษา สพฐ.” ปีการศึกษา 2567

ขอบคุณคณะผู้บริหาร เพื่อนครู และนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่เป็นแรงผลักดันและเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ผมได้รับรางวัลนี้ครับ https://drive.google.com/file/d/1RGSFd1QgKIHEUQZxGOYckiOoW68Ut1S5/view?usp=sharing

ลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ครั้งที่ 29 [ค่ายย่อยที่ 5 สวนกุหลาบฯ รังสิต]

ปีนี้เป็นอีกปีหนึ่งที่ได้มีโอกาสมาร่วมกิจกรรมลูกเสือที่สำคัญของเราชาวสวนกุหลาบครับ ก็คือกิจกรรมสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งปีนี้จัดเป็นครั้งที่ 29 แล้ว (10 – 13 ธ.ค. 67 ณ ค่ายวชิราวุธ จังหวัดชลบุรี) โดยมีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี เป็นเจ้าภาพ ส่วนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เป็นค่ายย่อยที่ 5 อยู่ด้านท้าย ๆ ค่ายวชริราวุธครับ แต่ก็มีพื้นที่ทำกิจกรรมเยอะพอสมควร หน้าที่ของผมในค่ายก็คือรับหน้าที่เป็นปฏิคมและฝ่ายประชาสัมพันธ์ ที่จะต้องร่วมกับงานโสตในการนำภาพมาส่งเข้าส่วนกลางและทำ PR…

Review: ChatGPT : The brightest student in the class [ChatGPT : นักเรียนที่เก่งที่สุดในชั้นเรียน]

ChatGPT: The Brightest Student in the Class “ChatGPT: นักเรียนที่เก่งที่สุดในห้องเรียน”

เป้าหมายของการวิจัย
ประเมินคุณภาพของสรุปความที่สร้างโดย ChatGPT เปรียบเทียบกับนักเรียนมัธยมปลาย เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำ ChatGPT มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม

นำเสนอผลงานด้านโครงงาน “AI ช่วยสอนโขน”

สมาชิกกลุ่มโครงงานแอปพลิเคชันฝึกโขนด้วยตนเอง ซึ่งผ่านเข้ารอบในการประกวด NSC2024 และได้ตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ และนำเสนอผลงานใน Conference ICCT2024 นำเสนอผลงานให้นักเรียนที่สนใจในสาขาด้านเทคโนโลยี ได้นำไปเป็นแนวคิดและแรงบันดาลใจในการพัฒนาโครงงานและพัฒนาตนเองให้ประสบความสำเร็จ

This Post Has 5 Comments

  1. น่าสนใจค่ะ โจ๊ก ถ้าพี่จะนำรูปแบบ การดำเนินการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ จะอ้างอิงของโจ๊กยังไงค่ะ

  2. รูปแบบวิจัยเป็นวิจัยปฏิบัติการครับ ใช้รูปแบบ PAOR 4 ขั้นตอน มีกี่วงจรก็ได้จนกว่าจะประสบความสำเร็จ

    พี่ลอง search หาดูก็ได้ครับ เป็นรูปแบบวิจัยในชั้นเรียนที่ไม่จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับสถิติ ไม่จำเป็นต้องใช้ t-test ให้วุ่นวายครับ p-a-o-r ของ kemmis ครับ

    สอบถามได้ตลอดเลยนะครับ

  3. ขอบคุณค่ะโจ๊ก เดี๋ยวจะไปศึกษาหาความรู้ตามที่แนะนำก่อนค่ะ

  4. กำลังเรียนปโทอยู่เลยหาข้อมูลงานวิจัยขอบคุณค่ะ

Leave a Reply to Arisara Sasom Cancel reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.