เอกสารแบบทดสอบวิชาภาษาซีครับ

สำหรับนักเรียนที่ยังไม่ได้ทำแบบทดสอบ และนักเรียนที่ต้องการทำแบบทดสอบใหม่เพื่อเพิ่มคะแนนของตนเอง นักเรียนสามารถดาวน์โหลดเอกสารนี้ ได้เลยครับ ทั้งหมดมี 4 ครั้งด้วยกันนะครับ ดังนี้ แบบทดสอบปฏิบัติ ครั้งที่ 1 แบบทดสอบปฏิบัติ ครั้งที่ 2 แบบทดสอบปฏิบัติ ครั้งที่ 3 แบบทดสอบปฏิบัติ ครั้งที่ 4 ขอให้ตั้งใจ ฝึกฝน พัฒนาตนเอง และอย่าลอกกันนะครับ

[c language #10] คำสั่ง For

คำสั่ง for เป็นคำสั่งที่สั่งให้โปรแกรมทำงานซ้ำตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยมีตัวอย่างการใช้งานดังนี้ for(ค่าเริ่มต้น; ประโยคเงื่อนไข; การเพิ่มค่าจากค่าเริ่มต้นไปยังค่าสิ้นสุด) { คำสั่ง; } ตัวอย่างโปรแกรมแสดงชื่อ-นามสกุลของตนเองจำนวน 10 ครั้ง #include<stdio.h> #include<stdlib.h> int main() { int i; for(i=1; i<=10; i++) { printf(“Nattapon Buaurai\n”); }…

[c language #9] If-Else

คำสั่ง If-Else เป็นคำสั่งที่สั่งให้โปรแกรมเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่งตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยมีตัวอย่างการใช้งาน ดังนี้ if(เงื่อนไข) { คำสั่ง1; คำสั่ง2; . คำสั่ง n; } โปรแกรมนี้จะทำคำสั่ง 1-n หรือทำคำสั่งใน { } ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขหลังคำสั่ง if เป็นจริง หรือ if(เงื่อนไข) { คำสั่ง 1; }…

[c language #8] ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบที่นิยมใช้กันมีดังนี้ ==    ตัวดำเนินการเท่ากัน !=    ตัวดำเนินการไม่เท่ากัน >=    ตัวดำเนินการมากกว่าหรือเท่ากับ <=    ตัวดำเนินการน้อยกว่าหรือเท่ากับ >    ตัวดำเนินการมากกว่า <    ตัวดำเนินการน้อยกว่า ตัวอย่างเช่น หากนักเรียนต้องการเปรียบเทียบว่า 10 และ 20 เท่ากันหรือไม่ จะเขียนได้ดังนี้ 10 == 20       ซึ่งถ้าเท่ากันจริง โปรแกรมจะคืนค่า 1 แต่ถ้าไม่เท่ากันโปรแกรมจะคืนค่า…

[c language #7] ตัวดำเนินการคำนวณ

ตัวดำเนินการคำนวณพื้นฐาน มีดังนี้ +   ตัวดำเนินการ     บวก –   ตัวดำเนินการ     ลบ *   ตัวดำเนินการ     คูณ /   ตัวดำเนินการ     หาร %   ตัวดำเนินการมอดูลัส (Modulus) หรือหารแล้วเอาเฉพาะเศษนั่นเอง ในการทำงานของตัวดำเนินการคอมพิวเตอร์จะมีลำดับการทำงานดังนี้ 1.      ( )           คอมพิวเตอร์จะทำการคำนวณในวงเล็บก่อนเสมอ 2.      *  /  %   …

[c language #6] การรับข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด

ฟังก์ชัน Scanf เป็นฟังก์ชันสำหรับรับข้อมูลจากคียร์บอร์ดเข้าสู่โปรแกรม โดยมีวิธีการใช้งานดังนี้ int number; scanf(“%d”, &number); บรรทัดที่ 1 : เป็นการประกาศตัวแปรชนิดจำนวนเต็มบวก ชื่อ number บรรทัดที่ 2 : รอรับค่าทางคีย์บอร์ด (จะทำงานเมื่อกดปุ่มที่คีย์บอร์ด) โดยจะเก็บค่าตัวเลขจำนวนเต็มไว้ที่ตัวแปร number (ใช้ %d เพราะตัวแปร number เป็นตัวแปรชนิด int…

[c language #5] ตัวแปรและ Text Formatting

ตัวแปร (variable) คือสิ่งที่จะช่วยเราจำค่าต่างๆ ไว้แสดงค่าหรือคำนวณภายหลัง โดยตัวแปรเหล่านี้จะเก็บค่าเอาไว้ในหน่วยความจำ (Memory) ของคอมพิวเตอร์นั่นเอง การประกาศตัวแปร (Declarations) ก่อนที่เราจะนำตัวแปรมาใช้ได้ เราต้องประกาศตัวแปรเสียก่อน โดยมีรูปแบบดังนี้ int number; char letter; ชนิดของตัวแปร Type name                …

[c language #4] Escape Character และ Comment

Escape Character ในการเขียนโปรแกรมให้มีการแสดงผลเครื่องหมายพิเศษต่างๆ เช่น เครื่องหมายคำพูด ” หรือเครื่องหมาย \  เราจะเขียนโปรแกรมอย่างไร เพราะเครื่องหมายคำพูดถูกใช้อยู่ในฟังก์ชัน printf() อยู่แล้ว เพราะเป็นเครื่องหมายแสดงถึงขอบเขตเริ่มต้นและสิ้นสุดของข้อความ (สายอักขระหรือ string) แล้วหากเราต้องการแสดงเครื่องหมายเหล่านี้ออกจากหน้าจอจะทำอย่างไรดีล่ะ? วิธีการนั้นง่ายๆ แค่เอาเครื่องหมาย \ ซึ่งเรียกว่า อักขระหลีก (Escape character) ไปวางไว้หน้าอักขระเหล่านั้น มีผลให้อักขระที่ตามหลังเครื่องหมาย \ หนึ่งตัว มีความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น …

[c language #3] New line ขึ้นบรรทัดใหม่อย่างไรดี?

หากนักเรียนได้ลองใช้ฟังก์ชัน printf() เพื่อแสดงผลข้อมูลไปบ้างแล้ว นักเรียนจะพบว่ามีการแสดงผลเพียงบรรทัดเดียว แม้เราจะใช้ฟังก์ชัน printf() อีกบรรทัดหนึ่งก็ตาม ผลลัพธ์ที่แสดงออกจากหน้าจอก็ยังแสดงผลเพียงบรรทัดเดียว เช่น printf(“My name is Nattapon”); printf(“I am a student”); ผลลัพธ์ที่ได้คือ My name is NattaponI am a student แล้วทำอย่างไร เราถึงจะทำให้ผลลัพธ์ที่แสดงออกทางหน้าจอ…

[c language #2] Hello World! โปรแกรมแรกใช้ชีวิต

ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างโปรแกรมต่อไปนี้ครับ นักเรียนอาจจะลองเขียนโปรแกรมนี้ลงใน Dev-C++ เพื่อศึกษาผลลัพธ์ด้วยก็ได้ บรรทัดที่ 1     #include<stdio.h> บรรทัดที่ 2     int main() บรรทัดที่ 3     { บรรทัดที่ 4          …